»»» 3.4.1 หน่วยความจำแรม
      »»» 3.4.2 หน่วยความจำรอม

          หน่วยความจำหลัก (main memory) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลและคำสั่งที่อยู่ระหว่างการประมวลผลของคอมพิวเตอร์หรือในขณะที่เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ใช้งาน บางครั้งอาจเรียกว่าหน่วยเก็บข้อมูลหลัก (primary storage)
          หน่วยความจำหลักจะทำงานควบคู่ไปกับซีพียูและช่วยให้การทำงานของซีพียูมีประสิทธิภาพดีขึ้น โดยวงรอบการทำงานของซีพียูนั้นทำงานเร็วมาก หากไม่มีที่เก็บหรือพักข้อมูลและความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลที่มีขนาดเพียงพอ จะทำให้การประมวลผลช้าลง หน่วยความจำหลักแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้

3.4.1  หน่วยความจำแรม
          หน่วยความจำแรม (Random Access Memory  : RAM) เป็นหน่วยความจำที่จัดเก็บข้อมูลในขณะที่ซีพียูกำลังประมวลผล หรือเมื่อเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ดังนั้นหน่วยความจำประเภทนี้  ต้องอาศัยกระแสไฟฟ้าในการทำงานเพื่อไม่ให้ข้อมูลสูญหาย หรืออาจเรียกว่า หน่วยความจำแบบลบเลือนได้ (volatile memory)  ซึ่งหากเกิดไฟฟ้าดับ ข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำจะหายไป

       แรมจะเก็บข้อมูลและคำสั่งหรือโปรแกรมในระหว่างการทำงานของซีพียู โดยซีพียูสามารถเข้าถึงข้อมูลและคำสั่งในแรมอย่างรวดเร็ว ซึ่งหากผู้ใช้ต้องการใช้ข้อมูลภายหลังผู้ใช้ต้องย้ายข้อมูลจากแรมไปเก็บไว้ที่หน่วยความจำรอง ซึ่งอาจเป็น ฮาร์ดดิสก์ ออปติคัลดิสก์ หรือหน่วยความจำแบบแฟลช โดยการใช้คำสั่งบันทึก (save) จากโปรแกรมที่ใช้งาน

        แรมที่มีขนาดหน่วยความจำที่ใหญ่มากจะทำงานได้เร็วขึ้น การวัดขนาดของหน่วยความจำของแรม นิยมวัดโดยใช้หน่วยเป็นไบต์ (Byte) โดยเปรียบเทียบกับขนาดของตัวอักษร ดังนี้

       1  Byte  (ไบต์)                 =                        1   ตัวอักษร
       1  KB     (กิโลไบต์)            =                  1,024   ตัวอักษร  ประมาณ   1  พันตัวอักษร
       1  MB    (เมกกะไบต์)         =            1,048,576   ตัวอักษร  ประมาณ   1  ล้านตัวอักษร
       1  GB     (กิกะไบต์)           =      1,073,741,824    ตัวอักษร  ประมาณ   1  พันล้านตัวอักษร
รูปที่ 3.26 แรม
ที่มา : http://www.pngpix.com/wp-content/uploads/2016/04/RAM-PNG-Image4.png


การเลือกซื้อหน่วยความจำแรม

          1. ควรเลือกแรมที่มีมาตรฐานในการผลิต ปัจจุบันแรมจะมีเทคโนโลยี 2 ชนิด ที่นิยมใช้ คือ หน่วยความจำแบบ DDR หรือ Double Data Rate (DDR-SDRAR, DDR-SDRAM) เป็นหน่วยความจำที่มีบทบาทสำคัญบนการ์ดแสดงผล 3 มิติ และหน่วยความจำแบบ Rambus หรือ RDRAM หรือ Rambus DRA เป็นหน่วยความจำที่มีความสามารถในการขนถ่ายข้อมูลสูง
          2. ควรเลือกขนาดของแรมที่เหมาะกับเครื่องคอมพิวเตอร์และการใช้งาน สำหรับเครื่องทั่วไปควรเลือกขนาด                 1-2 GB แต่สำหรับเครื่องที่ทำงานด้านมัลติมีเดีย เกม  และกราฟิก ระดับสูงควรใช้แรมขนาด 4 GB ขึ้นไป
          3. ควรเลือกแรมที่มีความเร็วในการทำงานที่รองรับกับซีพียูที่เราใช้งาน
          4. ควรเลือกแรมที่มีการรับประกัน

การดูแลรักษาหน่วยความจำแรม
          1. ควรถอดหน่วยความจำแรมออกมาทำความสะอาด โดยการปัดฝุ่นด้วยแปรงที่มีขนนุ่มๆ และหลังจากนั้นนำยางลบสีขาวถูตรงขาของแรมทั้งสองข้างเพื่อลบคราบต่างๆที่ติดอยู่
          2. ระวังอย่าให้แรมตกหล่นหรือเปียกน้ำ เพราะจะทำให้เกิดความเสียหายได้

หน่วยความจำรอม (Read Only Memory : ROM) เป็นหน่วยความจำที่บริษัทผู้ผลิตได้ติดตั้งชุดคำสั่งสำหรับใช้ในการเริ่มต้นการทำงานหรือชุดคำสั่งที่สำคัญๆ ของระบบคอมพิวเตอร์โดยรอมมีคุณสมบัติในการเก็บข้อมูลไว้ตลอดโดยไม่ต้องใช้ไฟฟ้าเลี้ยง (non volatile) นั่นคือ เมื่อปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ไปแล้ว และเปิดเครื่องใหม่ข้อมูลในรอมก็จะไม่สูญหาย แต่ผู้ใช้จะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมชุดคำสั่งลงในรอมได้

รูปที่ 3.27 รอม
ที่มา : https://sites.google.com/a/pkru.ac.th/kru-cher/_/rsrc/1453905469526/rxm/eprom.png






ลำดับขั้นตอนการศึกษาบทเรียน

หน้าหลัก
»คำแนะนำการใช้บทเรียน
»คำอธิบายรายวิชา
»แบบทดสอบก่อนเรียน
»แบบทดสอบหลังเรียน

หน่วยที่ 1 รู้จักกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

»จุดประสงค์การเรียนรู้
»แบบทดสอบก่อนเรียน

  »» 1.1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารคืออะไร
      »»»เทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์
      »»»เทคโนโลยีด้านการสื่อสาร
      »»»เทคโนโลยี (Technology)
      »»»สารสนเทศ (information)
      »»»เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT)

  »» 1.2 ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
      »»» 1.2.1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว
      »»» 1.2.2 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสามารถนำไปประยุกต์ในด้านต่างๆ
      »»» 1.2.3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารช่วยทำให้การบริการสะดวกขึ้น
      »»» 1.2.4 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารช่วยให้การทำงานรวดเร็ว ถูกต้อง และแม่นยำ
      »»» 1.2.5 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย

  »» 1.3 ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
      »»»» 1.3.1 ผลกระทบด้านบวก
           1) การสร้างเสริมคุณภาพชีวิต
           2) การเสริมสร้างความเสมอภาคในสังคมและการกระจายโอกาส
           3) การเรียนการสอนและส่งเสริมการค้นคว้าวิจัย
           4) การรักษาสิ่งแวดล้อม
           5) การรักษาความปลอดภัย
           6) การผลิตในอุตสาหกรรมและการพาณิชยกรรม
           7) การสร้างสรรค์ผลงานและพัฒนาความคิด
           8) การส่งเสริมประชาธิปไตย
      »»»» 1.3.2 ผลกระทบด้านลบ
           1) ทำให้เกิดอาชญากรรม
           2) ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเสื่อมถอย
           3) ทำให้เกิดความวิตกกังวล
           4) ทำให้เกิดความเสี่ยงภัยในการดำเนินงาน
           5) ทำให้เกิดการพัฒนาอาวุธไปใช้ในทางที่ผิด
           6) ทำให้เกิดการแพร่กระจายข่าวสารที่ไม่เหมาะสม
           7) ทำให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพ
           8) ทำให้ติดคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต

  »» วิดีโอสรุปเนื้อหาหน่วยที่ 1

» แบบทดสอบหลังเรียน

หน่วยที่ 2 ข้อมูลและสารสนเทศ

»จุดประสงค์การเรียนรู้
»แบบทดสอบก่อนเรียน

»»2.1 ข้อมูลและสารสนเทศ
      »»» ข้อมูล (data)
      »»» สารสนเทศ (information)
      »»» การประมวลผล (processing)
      »»» การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ

»»2.2 ประเภทของข้อมูล
      »»» 2.2.1 ข้อมูลปฐมภูมิ
      »»» 2.2.2 ข้อมูลทุติยภูมิ

»»2.3 วิธีการประมวลผลข้อมูล
      »»» 2.3.1 การประมวลผลแบบเชื่อมตรง
      »»» 2.3.2 การประมวลผลแบบกลุ่ม

»»2.4 การจัดการสารสนเทศ
      »»» 2.4.1 การรวบรวมข้อมูลและการตรวจสอบข้อมูล
      »»» 2.4.2 การประมวลผลข้อมูล
      »»» 2.4.3 การดูแลรักษาข้อมูล

»»2.5 ระดับของสารสนเทศ
      »»» 2.5.1 ระดับบุคคล
      »»» 2.5.2 ระดับกลุ่ม
      »»» 2.5.3 ระดับองค์กร

»»วิดีโอสรุปเนื้อหาหน่วยที่ 2

»แบบทดสอบหลังเรียน

หน่วยที่ 3 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์

»จุดประสงค์การเรียนรู้
»แบบทดสอบก่อนเรียน

»»3.1 หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
      »»» 1. หน่วยรับข้อมูล (input unit)
      »»» 2. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU)
      »»» 3. หน่วยความจำหลัก (main memory)
      »»» 4. หน่วยแสดงผล (output unit)
      »»» 5. หน่วยความจำรอง (secondary storage)

»»3.2 หน่วยรับข้อมูล
      »»» 3.2.1 แป้นพิมพ์
      »»» 3.2.2 เมาส์
      »»» 3.2.3 สแกนเนอร์
      »»» 3.2.4 อุปกรณ์จับภาพ
      »»» 3.2.5 อุปกรณ์รับเสียง

»»3.3 หน่วยประมวลผลกลาง
      »»» หน่วยประมวลผลกลาง
      »»» หน้าที่ของซีพียู
      »»» การเลือกซื้อซีพียู
      »»» การดูแลรักษา

»»3.4 หน่วยความจำหลัก
      »»» 3.4.1 หน่วยความจำแรม
      »»» 3.4.2 หน่วยความจำรอม

»»3.5 หน่วยแสดงผล
      »»» 3.5.1 จอภาพ
      »»» 3.5.2 เครื่องพิมพ์
      »»» 3.5.3 ลำโพง

»»3.6 หน่วยความจำรอง
      »»» 3.6.1 ฮาร์ดดิสก์
      »»» 3.6.2 ออปติคัลดิสก์
      »»» 3.6.3 อุปกรณ์หน่วยความจำแบบแฟลช

»»3.7 บทบาทของคอมพิวเตอร์
      »»» 3.7.1 ด้านราชการ
      »»» 3.7.2 ด้านงานธุรกิจ
      »»» 3.7.3 ด้านการคมนาคมขนส่ง
      »»» 3.7.4 ด้านงานการศึกษา
      »»» 3.7.5 ด้านงานวิทยาศาสตร์และการแพทย์
      »»» 3.7.6 ด้านงานวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม
      »»» 3.7.7 งานอื่นๆ

»»3.8 ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
      »»» 3.8.1 ช่วยสร้างงาน
      »»» 3.8.2 ช่วยสร้างความบันเทิง
      »»» 3.8.3 ช่วยติดต่อสื่อสาร
      »»» 3.8.4 ช่วยสืบค้นข้อมูล
      »»» 3.8.5 ช่วยแก้ปัญหาทางด้านสังคมและประเทศ

»»วิดีโอสรุปเนื้อหาหน่วยที่ 3

»แบบทดสอบหลังเรียน

»แหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม
»ผู้จัดทำ

--ขึ้นบนสุด--

ครูนงลักษณ์ เย็นสุข

บทเรียนที่ได้รับความสนใจมากสุด

ติดต่อครูนงลักษณ์

Name

Email *

Message *

ยอดเข้าชม